วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

บันทึกหลังการเรียนการสอน

Tueday , December 2, 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

สรุป THAI TEACHER TV , RESEARCH งานวิจัย

1.เรื่อง ผลการจักกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย (RESEARCH งานวิจัย )    

2.เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมเรื่องแสงที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้  (RESEARCH งานวิจัย )   

3.เรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเครื่องสมุนไพร (RESEARCH งานวิจัย )   

4.เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์เรียนรู็แบบโครวการกับแบบสืบเสาะความรู้ (RESEARCH งานวิจัย )   

5.เรื่อง เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ( THAI TEACHER TV )

6.เรื่อง เสียงในการได้ยิน ( THAI TEACHER TV )

วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

RESEARCH

RESEARCH

ผู้แต่ง    : สุมาลี  หมวดไธสง
ชื่อเรื่อง : ความสามารถในการวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน

จุดมุ่งหมายของวิจัย
         1.ระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
         2.เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน

วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

THAI TEACHER TV


สรุป : THAI TEACHER TV 

เรื่อง : ทอดไข่พัฒนาการสังเกต
โดย : คุณครูธนัชพงศ์  โพธิ์เพชร ( โรงเรียนหมู่บ้านเศรษฐกิจ )



              เรื่องการสอนวิทยาศาสตร์กระบวนการสังเกตเป็นพื้นฐานสำคัญในวิชาวิทยาศาสตร์ จึงใช้การทอดไข่ มาฝึกพัฒนาทักษะการสังเกต ให้แก่นักเรียนเพื่อเป็นการปูพื้นฐานการสังเกตในวิชาวิทยาศาสตร์โดยให้นักเรียนเริ่มตั้งแต่สังเกตความแตกต่างของไข่ ชนิดของน้ำมัน ความแตกต่างของกระทะ และรสชาติของไข่ต่าง ๆ เพื่อที่เราจะได้รู้ว่าควรทอดไข่ด้วยน้ำมันพืชหรือน้ำมันหมู กระบวนการทดลองนี้ทำให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้วิธีการสังเกต คิดวิเคราะห์ ประเมินผลและครูต้องใช้คำถามถามนักเรียนเสมอเมื่อมีการทดลองแล้วจะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้และยากเรียนพร้อมทั้งยังฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ให้กับนักเรียนอีกด้วย วิดีโอนี้เหมาะสำหรับสอนนักเรียน   ผู้ที่เรียนครูวิทยาศาสตร์ควรจะมีทักษะทั้งหมดนี้เพื่อนำไปใช้ในการสอนเพราะวิดีโอนี้ให้ความรู้และยังสอนให้รู้จักการสังเกตอีกด้วย


บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , November 25, 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

สรุป THAI TEACHER TV , RESEARCH งานวิจัย

1.เรื่อง การกำเนิดของเสียง ( THAI TEACHER TV )
       ได้ฝึกทักษะการคิด การทดลอง การใช้คำถามกับเด็ก เช่น เสียงต่างกันอย่างไร มาจากไหน

2.เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ( RESEARCH งานวิจัย )
     การเรียนณุ้เรื่องสี คือสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็ก สิ่งที่อยู่ตามธรรมชาติ เช่น ผัก ผลไม้ ดอกไม้  

3.เรื่อง สารอาหารในชีวิตประจำวัน THAI TEACHER TV )
    การปรุงอาหารเกิดจากการผสมส่วนประกอบของอาหารต่างๆ เข้าด้วยกัน อย่างถูกต้องตามชื่ออาหารให้ได้รสชาติที่ต้องการ

4.เรื่อง ไฟฟ้าและพันธ์ุพืช  THAI TEACHER TV )
     สอนการเจริญเติบโตของพืช โดยใช้สื่อการเรียนรู้นอกห้องเรียน ให้เด็กสังเกตการเจริญเติบโตของพืช และให้เด็กทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องไฟฟ้าและพันธ์ุพืช  จากที่ให้เด็กลงมือทำแล้ว มีสื่อ มีอุปกรณ์ให้เด็กได้ทำการทดลอง เด็กเกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์

5.เรื่อง การเสริมประสบการณ์เรื่องแสงที่มีต่อทักษะทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย ( RESEARCH งานวิจัย )
    ช่วยในการแสวงหาความรู้เกี่ยงกับทักษะความรู้ ซึ่งแสงได้อยูรอบๆตัวเรา นำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องแสงได้

6.เรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมทำเครื่องดื่มสมุนไพร RESEARCH งานวิจัย ) 
     ทักษะในวิจัยนี้ มีทักษะการสังเกต การจะแนก การสื่อความหมายของข้อมูล เด็กจะได้ทักษะทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น




กิจกรรม Cooking  Waffle



อุปกรณ์และส่วนผสม
  1. ไข่ไก่ ( Egg )
  2. เนย ( Butter )
  3. แป้ง ( Powder )
  4. น้ำ ( Water )
  5. ถ้วย ( Cup ) 
  6. ช้อน ( Spoon )
วิธีการทำวาฟเลิฟ
  1.    ผสมแป้งและไข่คนให้คนกัน ค่อยเติมน้ำและเนย คนให้เข้ากัน
  2.    เมื่อได้แป้งตามต้องการแล้ว ตักแป้งใส่ถ้วย และนำไปเท่ลงแม่พิมพ์

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , November 18, 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )

นำเสนอแผนการเรียนการสอนต่อจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ..

กลุ่มที่ 7 นกหงส์หยก


สอนเรื่องชนิดและลักษณะของนกหงศ์หยก โดยการเปรีบเทียบ ความเหมือน 
ความแตกต่างของนกหงส์หยก

กลุ่มที่ 8 เรื่องสับปะรด ( กลุ่มของตวเอง )


สอนเรื่องประโยชน์และข้อควรระวังของสับปะรด โดยมีนิทานเรื่อง "น้องหนูนากับสับปะรด"



กลุ่มที่ 9 เรื่องส้ม


สอนการแปรรูปของส้ม


สรุป THAI TEACHER TV , RESEARCH งานวิจัย
1.เรื่อง นม + สี + น้ำยาล้างจาน สำหรับเด็กอนุบาล ( THAI TEACHER TV )
       เด็กวัยนี้เป็นวัยที่มีการพัฒนาการทางสติปัญญาผ่านทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ และสามารถแก้ปัญหาได้อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมุ่งเน้นพัฒนาการ การทดลอง

2.เรื่อง สร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับกิจกรรม 5 ประสาทสัมผัส  ( THAI TEACHER TV )
      ทักษะที่ได้รับคือ ฝึกการสังเกต ฝึกการมอง ฝึกการฟัง ฝึกการดมกลิ่น ฝึกการสัมผัส ฝึกการชิมรสชาติ

3.เรื่อง ดินน้ำมันลอยน้ำได้อย่างไร  ( THAI TEACHER TV )
      ครูให้เด็กโดยการสืบเสาะหาความรู้ จากการปั่นดินน้ำมันในรูปต่างๆ จากนั้นครูออกแบบ จัดกระบวนการสังเกต ครูแจกใบงานที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ โดยให้เด็กเรียนเรื่องการคาดคะเนว่า เด็กจะปั้นดินน้ำมันเป็นรูปอะไรถึงจะลอยน้ำได้ และให้เด็กออกมานำเสนอผลงาน พร้อมกลับเอาดินน้ำมันลอยน้ำ


กิจกรรม Cooking 


"ไข่เทอริยากิ"

สามารถนำไปสอนเด็กได้เพราะขั้นตอนไม่ยุ่งยาก อุปกรณ์และส่วนผสมหาซื้อง่ายได้

ส่วนผสม
  1. ไข่ไก่ ( Egg )
  2. ข้าวสวย ( Rice )
  3. ผักต่างๆ ( เช่น แครทCarror / ต้นหอมLeek เป็นต้น หรือ ผักที่เราชอบ )
  4. ปูอัด 
  5. ซอสปรุงรส
  6. เนย ( Better )
วิธีทำไข่เทอริยากิ
  1. ตีไข่ใส่ถ้วย
  2. นำส่วยผสมที่เตรียมใส่ลงในไข่ในอัตราส่วนที่พอดี คนให้เข้ากัน
  3. นำเนยใส่ในหลุมกระทะ
  4. เท่ไข่และส่วนผสมที่เราเตรียมในกระทะ
    การทำไข่เทอริยากิ เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก เพราะ เด็กสามารถลงมือทำด้วยด้วยตนเอง เด็กจะเกิดความสนุกสนาน และการทำกิจกรรมควรมีครูเป็นผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด


สิ่งที่จะนำไปพัฒนา (What will Be Furher Developedl )
       เราสามารถนำแผนการเรียนการสอนของกลุ่มเพื่อน นำไปปรับปรุงแก้ไขใช้ได้  เพราะการเขียนแผนการเรียนการสอนเป็นสิ่งสำคัญมากที่ต้องทำไปใช้ให้เกิดประโชยน์และนำไปสอนกับเด็กได้

การประเมินผล ( Evaluation )
  • ตนเอง ( Self )  ตั้งใจฟังกลุ่มของเพื่อนเสนอแผนการเรียนการสอนและออกไปนำเสนอแผนการเรียนการสอนของกลุ่มตัวเองด้วย
  • เพื่อน ( Friends ) ตั้งใจเรียนและฟังเพื่อนนำเสนาองานการการเรียนการสอน สนใจในการทำกิจกรรมCookingมาก
  • อาจารย์ ( Tachers )ให้คำแนะนำเพิ่มเติมให้แต่ละกลุ่ม เพื่อจะนำไปปรับปรุงแก้ไข

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , November 11, 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )
        นำเสนอแผนการเรียนการสอน ของแต่ละกลุ่ม ดังนี้ ...

กลุ่มที่ 1 เรื่อง ผลไม้ 


สอนเรื่อง ชนิดของผลไม้ 


กลุ่มที่ 2 เรื่อง แตงโม

สอนการทำน้ำแตงโมปั่น โดยครูจะเป็นผู้เตรียมอุปรณ์ไว้ให้ 
 จากนั้นครูสาธิตการทำน้ำแตงโมปั่นให้เด็กดู1รอบ และให้เด็กออดมาทำน้ำแตงโมด้วตนเอง


กลุ่มที่ 3 เรื่อง ข้าวโพด


สอนเรื่องประโยชน์และข้อควรระวังของข้าวโพด ข้าวโพดมีประโยชน์หลายอย่าง สามารถนำมาปรกอบอาหารได้ เช่น ตำข้าวโพด ข้าวโพดอบเนย น้ำมันข้าวโพด เป็นต้น และข้าวโพดยังมีข้อควรระวังอีกด้วย คือ หากทานข้าวโพดมากเกินไปจะทำให้ ท้องผูก ท้องเสียได้

กลุ่มที่ 4 เรื่อง กล้วย


สอนเรื่องประโยชน์และข้อควรระวังของกล้วย กล้วยมีประโยชน์หลายอย่าง สามารถนำมาปรกอบอาหารได้ เช่น กล้วยบวชชี กล้วยปิ้ง กล้วยทอด  เป็นต้น และกล้วยมีข้อควรระวังอีกด้วย คือ หากทานข้าวโพดมากเกินไปจะทำให้ ปวดท้อง เปลือกกล้วยทำให้เราหกล้มได้หากเราเหยียบ

กลุ่มที่ 5 เรื่องช้าง


สอนเรื่องลักษณะและชื่อของช้าง  

กลุ่มที่ 6 เรื่องผีเสื้อ


สอนเรื่องลักษณะของผีเสื้อ 


สิ่งที่จะนำไปพัฒนา (What will Be Furher Developedl )
       เราสามารถนำแผนการเรียนการสอนของกลุ่มเพื่อน นำไปปรับปรุงแก้ไขใช้ได้

การประเมินผล ( Evaluation )
  • ตนเอง ( Self )  ตั้งใจฟังกลุ่มของเพื่อนเสนอแผนการเรียนการสอน
  • เพื่อน ( Friends ) ช่วยตอบคำถามที่กลุ่มนำเสนองานสอนแผนการเรียนการสอน
  • อาจารย์ ( Tachers )ให้คำแนะนำเพิ่มเติมให้แต่ละกลุ่ม เพื่อจะนำไปปรับปรุงแก้ไข

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , November 4 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )

       อาจารย์ให้นักศึกษานั่งตามกลุ่มของตัวเอง  และอธิบายเกี่ยวกับการเขียนแผนการเรียนการสอน  ว่ามีอะไรบ้าง   ดังนี้...

  1. สาระการเรียนรู้
  2. เนื้อหา Mind Map
  3. แนวคิด มีทั้งประโยชน์และโทษ
  4. ประสบการณ์สำคัญ
  5. การบูรณาการรายวิชา
  6. Web การทำกิจกรรม 
  7. กรอบพัฒนาการ
  8. วัตถุประสงค์

สิ่งที่จะนำไปพัฒนา (What will Be Furher Developedl )
       สามารถนำเอาการเรียนการสอน และการเขียนแผนการเรียนการสอน ไปปรับปรุงและแก้ไขเพื่อให้เด็กเกิดพัฒนาการ ทางสติปัญญาและการเรียนรู้

การประเมินผล ( Evaluation )
  • ตนเอง ( Self ) แต่งกายเรียนร้อย จดบันทึดรายละเอียดที่อาจารย์สอน
  • เพื่อน ( Friends ) คุยกัน แต่ช่วยกันแสดงความคิดเห็นและตอบคำถามที่อาจารย์ถาม
  • อาจารย์ ( Tachers ) อาจารย์อธิบาย การเขียนแผนการเรียนการสอน ตามลำดับขั้นตอน อย่างละเอียด 

วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , October 28 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.



ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )

อาจารย์ให้ทดลองเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ดังนี้,,,


1.ดอกไม้บาน


2. ขวดน้ำต่างระดับ
ข้างล่างน้ำจะไหลแรง เพราะยิ่งต่ำแรงดันยิ่งเยอะ


3. น้ำไหลออกจากสายยาง

การประเมินผล ( Evaluation )
  • ตนเอง ( Self ) ตั้งใจทำกิจกรรมที่อาจารย์นำมาสอน
  • เพื่อน ( Friends ) ให้ความสนใจกิจกรรมและตั้งใจ
  • อาจารย์ ( Tachers ) หากิจกรรมที่ใหม่ๆ นำมาสอน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , October 21 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.


< ต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว > อาจารย์ให้ออกมานำเสนอสื่อเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้และเด็กสามารถทำได้เอง   และอธิบายวิธีการทำ  วิธีการเล่น  และสื่อสามารถนำไปเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์อย่างไร



  • กิจกรรมประดิษฐ์ของเล่นไต่เชือก


ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )

สามารถนำเอาสิ่งประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์มานำประยุกต์ใช้ในอนาคตกับเด็กปฐมวัย ในวิชาการจัดกิจกรรมประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

การประเมินผล ( Evaluation )
  • ตนเอง ( Self ) ตั้งใจทำกิจกรรมที่อาจารย์นำมาสอน
  • เพื่อน ( Friends ) ให้ความสนใจในและตั้งใจทำของเล่น
  • อาจารย์ ( Tachers ) ให้ข้อเสนอแนะและคำแนะนำ เพื่อให้นักศึกษาจะได้นำคำแนะนำไปเป็นแนวการแก้ไข  

วันพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , October 14 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.


อาจารย์ให้ออกมานำเสนอสื่อเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้และเด็กสามารถทำได้เอง   และอธิบายวิธีการทำ  วิธีการเล่น  และสื่อสามารถนำไปเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์อย่างไร

ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )

สามารถนำเอาสิ่งประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์มานำประยุกต์ใช้ในอนาคตกับเด็กปฐมวัย ในวิชาการจัดกิจกรรมประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

การประเมินผล ( Evaluation )
  • ตนเอง ( Self ) ตั้งใจดูการนำเสนอผลงานของเพื่อนที่มีความตื่นเต้น และทุกคนไม่เหมือนกัน
  • เพื่อน ( Friends ) ให้ความสนใจในการนำเสนอผลงานของตนเอง และตั้งใจ
  • อาจารย์ ( Tachers ) ให้ข้อเสนอแนะและคำแนะนำ เพื่อให้นักศึกษาจะได้นำคำแนะนำไปเป็นแนวการแก้ไข

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , October 7 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.



มหาวิทยาลัยจัดสอบ
>_< 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , September 30 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.






ไม่มีการเรียนการสอน

หมายเหตุ : อาจารย์ติดสัมมนา เรื่อง,,,จิตอาสาตามรอยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

โดย.. วิทยากร ปอ ทฤษฎี สหวงษ์

สรุปบทความวิทยาศาสตร์


เรื่อง     :  วิทยาศาสตร์ ( Science )
ผู้เขียน :  อาจารย์สุวิตรา บุญแจ้ง  หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้                            วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา


        เด็กมีความเข้าใจเนื้อหาความรู้วิทยาศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานเบื้องต้นให้เด็กในการค้นคว้าข้อเท็จจริงและแก้ปัญหาต่างๆ  และเพื่อเป็นเครื่องมือในการสื่อความหมาย  เข้าใจปรากฎการณ์ธรรมชาติตลอดรู้เท่าทันเทคโนโลยี  เพื่อสามารถปรับปรุงแก้ไขความเป็นอยู่ของตนเองได้
   
       เด็กมีทักษะกระบวนการคิดควบคู่ไปกับทักษะกระบวนการทางวิทยาสาสตร์ที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือใช้ในการความรู้  ซึ่งมีทั้งทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ( Basis Skills ) จำนวน 8 ทักษะ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ชั้นผสมผสานจำนวน 5 ทักษะ

       เด็กจะมีเจคคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์  คือ ชอบ สนใจ อยากรู้ในสิ่งต่างๆที่เกี่ยงข้องกับวิทยาศาสตร์


The Secret Of Light

ความลับของแสง The Secret Of Light

สรุปเป็น Mind  Map ดังนี้ ,,,


วันพฤหัสบดีที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

บันทึกหลังการเรียนการสอน

Tueday , September 23 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.


ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )

อาจารย์ได้เตรียมอุปกรณ์ คือ กระดาษและมาให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรม และสอนวิธีทำ  เพื่อให้เด็กได้สร้างผลงานของตัวเอง  จากนั้นให้เพื่อนสรุปบทความของตัวเอง ดังนี้,,,

คนที่ 1 เลขที่ 3 คือ Napawan  Krudkhunthian ( นางสาวนภาวรรณ  กรุดขุนเทียน )
นำเสนอบทความ เรื่อง...สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทย์จากเป็ดและไก่
ผู้เขียน : ครูลำพรรณี  มืดขุนทด  จากโรงเรียนบ้านหนองผือจำเจริญพัฒนา 
โดยสอนให้เด็กเรียนรู้ผ่านนิทาน เรื่อง...หนูไก่คนเก่ง มีขั้นตอน คือ 
ขั้นที่ 1 นำเด็กร้องเพลงไก่พร้อมทำท่าทางประกอบอย่างอิสระ
ขั้นที่ 2 สนทนาและตั้งคำถามกับเด็ก เช่น อยากรู้จังไก่กับเป็ดเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ?
ขั้นที่ 3 ให้เด็กวาดภาพตามจินตนาการของเด็ก โดยคอยสังเกตพฤติกรรมของไปด้วยพร้อมครูจดบันทึกในสมุด

คนที่ 2 เลขที่ 4 คือ Suthasinee  Tamarnon ( นางสาวสุธาสินี  ธรรมานนท์ )
นำเสนอบทความ เรื่อง...สร้างแนวทางให้เด็กทดลองวิทยาศาสตร์
ผู้เขียน : ดร.เทพปัญญา  พรหมขัติแก้ว
การพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในด้านวิทยาศาสตร์นั้น จะตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องรอบๆตัวเด็ก และครูปฐมวัยควรจะตระหนักว่ากิจกรรมที่จัดตัั้งให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละช่วงวัย และควรจัดกิจกรรมเพื่อสามารถตอบสนองต่อยอดของเด็กได้

คนที่ 3 เลขที่ 5 คือ Narumon  Lsara ( นางสาวนฤมล  อิสระ )
นำเสนอบทความ เรื่อง...วิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก
ผู้เขียน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ไสยวรรณ
วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของเรา ได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นผู้ตอบสนองความสนใจของเด็กและคอยส่งเสริม เพื่อพัฒนาใรความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ 

คนที่ 4 เลขที่ 7 คือ Yupadee Sonprasert ( นางสาวยุพดี สนประเสริฐ )
นำเสนอบทความ เรื่อง...โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร
ผู้เขียน : ดร.พรพรรณ  ไวทยางกูร
เด็กได้เรียนรู้ว่า พวกเขาสามารถหาความรู้ได้จากสิ่งแวดล้อมและมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมที่ให้ใช้ชีวิตได้และ เด็กเรียนรู้ผ่านการสืบเสาะหาความรู้ การคิดการลงมือปฏิบัติ

 หลังจากที่เพื่อนนำเสนอบทความครบแล้ว อาจารย์ได้สอนต่อใน
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ Power Point สอน มีหัวข้อหลักๆ ดังนี้ 
  • ความหมายทักษะการจำแนก
  • ความหมายทักษะการวัด
  • ความหมายทักษะการสื่อสาร
  • ความหมายทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
  • ความหมายทักษะการความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
  • ความหมายทักษะการคำนวณ
สิ่งที่จะนำไปพัฒนา ( What Will Be Furher Developedl )
สามารถนำเอาความรู้ทั้งบทความของเพื่อนทุกคน และสิ่งที่อาจารย์สอน ในวันนี้ไปประยุกต์ปรับใช้ในอนาคตได้ 

การประเมินผล ( Evalution )
  • ตนเอง ( Self ) เข้าเรียยตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนขณะที่เพื่อนนำเสนอบทความและเวลาอาจารย์สอน 
  • เพื่อน ( Friends ) ตั้งใจเรียนบ้าง อาจมีพูดคุยเวลาเพื่อนนำเสนอและอาจารย์สอน บ้าง แต่ส่วนรวม ไม่ส่งเสียงดังรบกวนคนอื่น 
  • อาจารย์ ( Teacher ) เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการตอบคำถามในเนื้อหาที่สอน มีการประดิษฐ์สื่อเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ด้วย 

วันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

บันทึกหลังการเรียนการสอน

Tueday , September 16 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.


อาจารย์ให้เพื่อน เลขที่ 1 และ เลขที่ 2 ออกมานำเสนอบทความของตัวเองที่เตรียมมา 
โดยเลขที่ 1 พูดบทความเรื่องหลักสูตรวิทยาศาสตร์  และเลขที่ 2 พูดบทความเรื่องสอนลูกเรื่องพืช 


ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )

อาจารย์ได้นำสิ่งที่เหมือนกล้องส่องทางไกลมาให้ดู และมีกิจกรรมให้ทำโดยมีการแจกอุปกรณ์และอธิบายขั้นตอนดั้งนี้

อุปกรณ์ 
  1. กระดาษ A4
  2. ไม้เสียบลูกชิ้น
  3. สีเมจิก
  4. เทปกาว
ขั้นตอน
  1. ให้กระดาษมาแบ่งกัน 4 คน ต่อ กระดาษ 1 แผ่น พับครั้งแบ่ง4
  2. แล้ววาด 2 อัน คือ อันแรกวาดรูปตะกร้า และอีกด้านหนึ่งวาดผลไม้ ให้ทั้งสองด้านมีความสัมพันธ์กัน
  3. ติดไม้เสียบลูกชิ้นกับกระดาษไว้ตรงกลาง 
  4. และเอาเทปกาวติดรอบๆ แล้วลองหมุนดู

การประเมินผล ( Evaluation )
  • ตนเอง ( Self ) ตั้งใจประดิษฐ์ผลงานของตัวเองเพื่อให้ออกมาสวยงาม
  • เพื่อน ( Friends ) ตั้งใจทำผลงานของตัวเองอย่างสนใจ  ทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน
  • อาจารย์ ( Teacher ) มีเทคนิคการสอนที่สนใจและมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ให้นักศึกษา

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

บันทึกหลังการเรียนการสอน

Tueday , September 9 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.


สิ่งที่จะนำไปพัฒนา ( What Will Be Furher Developedl )

นำเอาความที่ได้เอาไปปรับประยุกต์เพื่อให้ตรงความต้องการของเด็กปฐมวัย และสามารถนำหลักการ ทฤษฎีมาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนได้อีกหลายๆ วิชา..


การประเมินผล ( Evaluation )
  • ตนเอง ( Self ) หยุดเรียน 
  • เพื่อน ( Friends ) เพื่อนมีการตั้งใจเรียน และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 
  • อาจารย์ ( Teacher ) อาจารย์ใช้คำถามปลายเปิด เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมการในตอบคำถาม 
อ้างอิง...
นางสาวยุพดี  สนประเสริฐ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

บันทึกหลังการเรียนการสอน

Tueday , September 2 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )

วันนี้อาจารย์ให้เข้ากิจกรรมของคณะศึกษาศาสตร์ ชื่อกิจกรรมว่า " โครงการศึกษาศาสตร์วิชาการ "
ณ อาคารพลศึกษา (โรงยิม)  ซึ่งมีกิจกรรมมากมายให้เราได้ร่วมในแต่ละวิชาเอกของคณะศึกษาศาสตร์


โดยกิจกรรมที่เข้าร่วม...
  1. นิทรรศการ " การคิดวิจารณญาณ "
  2. นิทรรศการ " การคิดเป็นระบบ "
  3. นิทรรศการ " การคิดวิเคราะห์ "
  4. นิทรรศการ " การคิดสังเคราะห์ "
  5. นิทรรศการ " การคิดสร้างสรรค์ "
  6. นิทรรศการ " ผลงานการคิด "

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , August 26 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.


ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )

ได้ความรู้เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และสามารถเอาความรู้ที่ได้รับไปศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมต่อไป เพื่อใช้ในอนาคต ในการฝึกสอนเด็กปฐมวัย 


การประเมินผล ( Evaluation )

  • ตนเอง ( Self )  ตั้งใจเรียนและฟัง ขณะอาจารย์สอน 
  • เพื่อน ( Friends ) มีความกระตือรือร้นในการเรียน และช่วยกันตอบคำถามที่อาจารย์ถามคำถาม
  • อาจารย์ (Teacher ) อาจารย์มีเทคนิคในการสอนหลายรูปแบบ ใช้คำถาม มีตัวอย่าง เพื่อให้นักศึกษาตอบคำถามได้

วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

บันทึกหลังการเรียนการสอน


Tueday , August 19 ,2557
 Time  14.10 To 17.30 pm


ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )


อาจารย์แนะแนวการสอนในรายวิชา บอกความหมาย ความสำคัญ แนวคิด ทฤษฎีและหลักการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะกระบานการทางวิทยาศาสตร์ รูปแบบการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อ้างอิง...
นางสาวยุพดี สนประเสริฐ